🎓 ความรู้เรื่องบล็อก

เว็บที่ใช้สร้างคือ www.blogger.com เป็นบริการบล็อกของกูเกิล ภายหลังจากทดลองให้บริการในช่วงระยะพัฒนา และลงทะเบียนได้โดยไม่ขึ้นอยู่กับกูเกิล หรือไม่จำเป็นต้องใช้จีเมลมาระยะหนึ่ง ปัจจุบันการใช้บริการบล็อกเกอร์จำเป็นต้องใช้จีเมล์ในการกรอกเป็นรหัสผ่าน และสิ้นสุดเบต้าเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549
ความรู้ทั่วไป
1.ความหมาย
บล็อกเป็นรูปแบบเว็บไซต์
ซึ่งถูกเขียนขึ้นในลำดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน จะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้แรกสุด
บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อต่างๆ ไม่ว่า
เพลง หรือวิดีโอในหลายรูปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ
บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล
สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็นคนเขียน
ซึ่งทำให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที บล็อกเป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยู่กับเจ้าของบล็อก
โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น
การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน
นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องส่วนตัวหรือจะเรียกว่าไดอารีออนไลน์
ซึ่งไดอารีออนไลน์นี่เองเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้บล็อกในปัจจุบัน
นอกจากนี้ตามบริษัทเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดทำบล็อกของทางบริษัทขึ้น
เพื่อเสนอแนวความเห็นใหม่ให้กับลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น
และได้รับการตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
2.ความนิยม
บล็อกได้เริ่มมีบทบาทมากขึ้นในปัจจุบันในวงการสื่อมวลชนในหลายประเทศ
เนื่องจากระบบแก้ไขที่เรียบง่าย และสามารถตีพิมพ์เรื่องราวได้โดยไม่ต้องใช้ความรู้ในการเขียนเว็บไซต์
โดยนอกเหนือจากที่ผู้เขียนข่าวส่งผลงานให้กับทางสื่อแล้ว
ยังได้มาเขียนข่าวในอีกช่องทางหนึ่งในการเผยแพร่ข้อมูล หรือแนวความคิด
โดยการเขียนบล็อกสามารถเผยแพร่ข้อมูลสู่ประชาชนได้รวดเร็วและเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า
สื่อในด้านอื่น ข่าวที่นิยมในการเขียนบล็อกต่อสื่อมวลชน
ส่วนใหญ่จะเป็นในลักษณะเรื่องซุบซิบวงการดารา ข่าวการเคลื่อนไหวทางการเมือง
เป็นต้น จากความนิยมที่มากขึ้น
ทำให้หลายเว็บไซต์เปิดให้มีส่วนการใช้งานบล็อกเพิ่มขึ้นมาในเว็บของตนเอง
เพื่อเรียกให้มีการเข้าสู่เว็บไซต์มากขึ้นทั้งผู้เขียนและผู้อ่าน
3.การใช้งานบล็อก
2.ความนิยม
ผู้ใช้แก้ไขและบริหารบล็อกผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์
โดยจะมีรูปแบบ บริหารบล็อกที่แตกต่างกัน
เช่นบางระบบที่มีบรรณาธิการของบล็อก ผู้เขียนหลายคนจะส่งเรื่องเข้าทางบล็อก
และจะต้องรอให้บรรณาธิการอนุมัติให้บล็อกเผยแพร่ก่อน
บล็อกถึงจะแสดงผลในเว็บไซต์นั้นได้
ซึ่งจะแตกต่างจากบล็อกส่วนตัวที่จะให้แสดงผลได้ทันที ผู้เขียนบล็อกใน ปัจจุบันจะใช้งานบล็อกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไม่ว่า
ติดตั้งซอฟต์แวร์ ของตัวเอง หรือใช้งานบล็อกผ่านทางเว็บไซต์ที่ให้บริการบล็อก
สำหรับผู้อ่านบล็อกจะใช้งานได้ในลักษณะอ่านเว็บไซต์ทั่วไป
สามารถ แสดงความเห็นได้ในส่วนท้ายของแต่ละบล็อกโดยอาจจะต้องผ่านการลง ทะเบียนในบางบล็อก
นอกจากนี้ผู้อ่านบล็อกสามารถอ่านบล็อกได้ผ่า
นระบบฟีด
ซึ่งมีให้บริการในบล็อกทั่วไป ทำให้ผู้ใช้สามารถอ่านบล็อกได้ โดยตรง
ผ่านโปรแกรมตัวอื่นโดยไม่จำเป็นต้องเข้ามาสู่หน้าบล็อกนั้น
4.ผู้ให้บริการบล็อกที่เป็นที่รู้จัก
- ไทป์แพด
- มัลติพลาย
- เวิร์ดเพรสส์
- บล็อกเกอร์ (กูเกิล)
- ยาฮู! 360° หรือ ยาฮู!เดย์ (ยาฮู!)
- วินโดวส์ไลฟ์ สเปซเซส (ไมโครซอฟท์)

ที่มา:https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%81
ข้อดีและข้อเสียของบล็อก
1.ข้อดีของการใช้งาน Blog
- เปิดโอกาสให้ Blogger ได้รับฟัง แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันได้โดยอิสระ
- ในด้านเทคนิคเจ้าของบล็อกสามารถปรับแต่งบล็อกให้เป็นรูปแบบที่ตนต้องการได้โดยไม่ต้องมีความรู้ในเรื่องภาษาคำสั่งของโปรแกรมมากมาย
อาศัยเพียงบทเรียนง่ายๆ จากการสังเกต การทดลอง และสามัญสำนึกช่วยก็สามารถทำเองได้
หรืออาจขอความช่วยเหลือเล็กๆน้อยๆจากผู้ที่มีประสบการณ์ก็สามารถเข้าไปแก้ไข Source
Code ได้ด้วยตนเอง
- สร้างเครือข่ายชุมชนสัมพันธ์ ที่มีความคิดเห็น ความสนใจ หรือ มีความรู้สึกนึกคิดร่วมกันได้
- เจ้าของบล็อกมีอิสระในการเสนอสิ่งที่ตนเองชอบหรือสนใจ ไม่ล่วงผู้อื่น ไม่ผิดกฎหมาย ศีลธรรม และประเพณีที่ดีงาม
- ช่วยเป็นกระบอกเสียง การประชาสัมพันธ์ในเรื่องต่างๆ รวมไปถึงผลงานให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นได้ หากใช้อย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผน ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง
และบริหารบล็อกอย่างมืออาชีพ หรือด้วยมืออาชีพ
- เปิดโอกาสให้เจ้าของบล็อกทำธุรกิจได้
ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจที่หารายได้จากการจำหน่ายสินค้า บริการ
- ได้พื้นที่ใช้งานฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย มีคนคอยบริการ ช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาทางด้านเทคนิค
หรือปัญหาทั่วๆไปที่เกี่ยวกับ บล็อก
- ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ หรือ สิ่งเก่า ที่ยังไม่รู้ ให้รู้มากขึ้น การนำมาแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน
- ได้มิตรภาพใหม่ๆ
จากความสัมพันธ์กับคนในชุมชนบล็อก ระหว่างเพื่อนของบล็อกเกอร์ และ
เพื่อนของเพื่อนของบล็อกเกอร์
- เป็นช่องทางในการสื่อสารกับครอบครัว เพื่อนฝูง เมื่อยามห่างไกลกัน
- เปิดโอกาสให้เจ้าของบล็อกได้แสดงออกถึงความสามารถ
ความคิดเห็นได้อย่างไม่เคยมีมาก่อน บางท่านอาจจะกลายเป็นคนดังได้
- เปิดโอกาสให้ประชาชนคนธรรมดา
กลายเป็นผู้สื่อข่าวได้ เพียงแค่นำเรื่องใกล้ตัวที่น่าสนใจ น่าตระหนัก
มาเสนอในช่วงเวลาที่เหมาะสม
- เปิดโอกาสให้บล็อกเกอร์ได้แสดงตัวตนที่เป็นตัวเอง อาจจะเป็นด้านที่ไม่มีใครรู้มาก่อนได้ แม้จะอยู่ชื่อแฝง
หรือจะอยู่ในชื่อจริงก็ตาม
- เป็นไดอารี่บันทึกประจำวัน เก็บข้อมูลประจำครอบครัว
- ใช้เป็นที่พบปะสังสรรค์เพื่อนเก่า
เครือญาติ ศิษย์เก่าสถาบันต่างๆ
- เก็บไว้เป็นที่ระลึกถึงตัวเอง รวมถึงเหตุการณ์ที่น่าจดจำรำลึก
- เป็นแหล่งข้อมูลความรู้
ให้บุคคลอื่นเข้ามาค้นคว้าศึกษาได้
- เปิดโอกาสให้ผู้ที่อาจต้องอยู่ในมุมมืด
เช่นผู้มีอาชีพพิเศษ นักโทษ ผู้ที่ไม่ต้องการเผยตัว
ได้ใช้เป็นเวทีแสดงออกและแลกเปลี่ยน เรื่องราว ความคิดเห็น แนวทาง
โดยไม่จำเป็นต้องเผยชื่อ
- ให้โอกาสผู้ที่มีความคิดเห็นแตกต่างกัน โดยเพิ่มโอกาสให้มีการปรับแนวทางความคิด
ความเข้าใจซึ่งกันและกัน
- เป็นเครื่องมือในการทำงาน ในเครือ The Nation ใช้อยู่ในปัจจุบัน
- ใช้เป็นศูนย์รวมให้ความรู้
การศึกษาวิชาการ วิชาชีพ ศิลปะ
- การรวมกลุ่มของชุมชนออนไลน์ขนาดย่อย เพื่อระดมความคิด พูดคุย ปรึกษาธุระ หรือแสดงผลงานร่วมกัน
- ใช้เป็นสถานีวิทยุออนไลน์ ให้บริการข่าว
ฟังเพลง 24 ชั่วโมง
ผู้ใช้แก้ไขและบริหารบล็อกผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์
โดยจะมีรูปแบบ บริหารบล็อกที่แตกต่างกัน
เช่นบางระบบที่มีบรรณาธิการของบล็อก ผู้เขียนหลายคนจะส่งเรื่องเข้าทางบล็อก
และจะต้องรอให้บรรณาธิการอนุมัติให้บล็อกเผยแพร่ก่อน
บล็อกถึงจะแสดงผลในเว็บไซต์นั้นได้
ซึ่งจะแตกต่างจากบล็อกส่วนตัวที่จะให้แสดงผลได้ทันที ผู้เขียนบล็อกใน ปัจจุบันจะใช้งานบล็อกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไม่ว่า
ติดตั้งซอฟต์แวร์ ของตัวเอง หรือใช้งานบล็อกผ่านทางเว็บไซต์ที่ให้บริการบล็อก
สำหรับผู้อ่านบล็อกจะใช้งานได้ในลักษณะอ่านเว็บไซต์ทั่วไป
สามารถ แสดงความเห็นได้ในส่วนท้ายของแต่ละบล็อกโดยอาจจะต้องผ่านการลง ทะเบียนในบางบล็อก
นอกจากนี้ผู้อ่านบล็อกสามารถอ่านบล็อกได้ผ่า
นระบบฟีด
ซึ่งมีให้บริการในบล็อกทั่วไป ทำให้ผู้ใช้สามารถอ่านบล็อกได้ โดยตรง
ผ่านโปรแกรมตัวอื่นโดยไม่จำเป็นต้องเข้ามาสู่หน้าบล็อกนั้น
4.ผู้ให้บริการบล็อกที่เป็นที่รู้จัก
- ไทป์แพด
- มัลติพลาย
- เวิร์ดเพรสส์
- บล็อกเกอร์ (กูเกิล)
- ยาฮู! 360° หรือ ยาฮู!เดย์ (ยาฮู!)
- วินโดวส์ไลฟ์ สเปซเซส (ไมโครซอฟท์)

ที่มา:https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%81
- มัลติพลาย
- เวิร์ดเพรสส์
- บล็อกเกอร์ (กูเกิล)
- ยาฮู! 360° หรือ ยาฮู!เดย์ (ยาฮู!)
- วินโดวส์ไลฟ์ สเปซเซส (ไมโครซอฟท์)
ข้อดีและข้อเสียของบล็อก
1.ข้อดีของการใช้งาน Blog
- เปิดโอกาสให้ Blogger ได้รับฟัง แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันได้โดยอิสระ
- ในด้านเทคนิคเจ้าของบล็อกสามารถปรับแต่งบล็อกให้เป็นรูปแบบที่ตนต้องการได้โดยไม่ต้องมีความรู้ในเรื่องภาษาคำสั่งของโปรแกรมมากมาย
อาศัยเพียงบทเรียนง่ายๆ จากการสังเกต การทดลอง และสามัญสำนึกช่วยก็สามารถทำเองได้
หรืออาจขอความช่วยเหลือเล็กๆน้อยๆจากผู้ที่มีประสบการณ์ก็สามารถเข้าไปแก้ไข Source
Code ได้ด้วยตนเอง
- สร้างเครือข่ายชุมชนสัมพันธ์ ที่มีความคิดเห็น ความสนใจ หรือ มีความรู้สึกนึกคิดร่วมกันได้
- เจ้าของบล็อกมีอิสระในการเสนอสิ่งที่ตนเองชอบหรือสนใจ ไม่ล่วงผู้อื่น ไม่ผิดกฎหมาย ศีลธรรม และประเพณีที่ดีงาม
- ช่วยเป็นกระบอกเสียง การประชาสัมพันธ์ในเรื่องต่างๆ รวมไปถึงผลงานให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นได้ หากใช้อย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผน ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง
และบริหารบล็อกอย่างมืออาชีพ หรือด้วยมืออาชีพ
- เปิดโอกาสให้เจ้าของบล็อกทำธุรกิจได้
ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจที่หารายได้จากการจำหน่ายสินค้า บริการ
- ได้พื้นที่ใช้งานฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย มีคนคอยบริการ ช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาทางด้านเทคนิค
หรือปัญหาทั่วๆไปที่เกี่ยวกับ บล็อก
- ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ หรือ สิ่งเก่า ที่ยังไม่รู้ ให้รู้มากขึ้น การนำมาแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน
- ได้มิตรภาพใหม่ๆ
จากความสัมพันธ์กับคนในชุมชนบล็อก ระหว่างเพื่อนของบล็อกเกอร์ และ
เพื่อนของเพื่อนของบล็อกเกอร์
- เป็นช่องทางในการสื่อสารกับครอบครัว เพื่อนฝูง เมื่อยามห่างไกลกัน
- เปิดโอกาสให้เจ้าของบล็อกได้แสดงออกถึงความสามารถ
ความคิดเห็นได้อย่างไม่เคยมีมาก่อน บางท่านอาจจะกลายเป็นคนดังได้
- เปิดโอกาสให้ประชาชนคนธรรมดา
กลายเป็นผู้สื่อข่าวได้ เพียงแค่นำเรื่องใกล้ตัวที่น่าสนใจ น่าตระหนัก
มาเสนอในช่วงเวลาที่เหมาะสม
- เปิดโอกาสให้บล็อกเกอร์ได้แสดงตัวตนที่เป็นตัวเอง อาจจะเป็นด้านที่ไม่มีใครรู้มาก่อนได้ แม้จะอยู่ชื่อแฝง
หรือจะอยู่ในชื่อจริงก็ตาม
- เป็นไดอารี่บันทึกประจำวัน เก็บข้อมูลประจำครอบครัว
- ใช้เป็นที่พบปะสังสรรค์เพื่อนเก่า
เครือญาติ ศิษย์เก่าสถาบันต่างๆ
- เก็บไว้เป็นที่ระลึกถึงตัวเอง รวมถึงเหตุการณ์ที่น่าจดจำรำลึก
- เป็นแหล่งข้อมูลความรู้
ให้บุคคลอื่นเข้ามาค้นคว้าศึกษาได้
- เปิดโอกาสให้ผู้ที่อาจต้องอยู่ในมุมมืด
เช่นผู้มีอาชีพพิเศษ นักโทษ ผู้ที่ไม่ต้องการเผยตัว
ได้ใช้เป็นเวทีแสดงออกและแลกเปลี่ยน เรื่องราว ความคิดเห็น แนวทาง
โดยไม่จำเป็นต้องเผยชื่อ
- ให้โอกาสผู้ที่มีความคิดเห็นแตกต่างกัน โดยเพิ่มโอกาสให้มีการปรับแนวทางความคิด
ความเข้าใจซึ่งกันและกัน
- เป็นเครื่องมือในการทำงาน ในเครือ The Nation ใช้อยู่ในปัจจุบัน
- ใช้เป็นศูนย์รวมให้ความรู้
การศึกษาวิชาการ วิชาชีพ ศิลปะ
- การรวมกลุ่มของชุมชนออนไลน์ขนาดย่อย เพื่อระดมความคิด พูดคุย ปรึกษาธุระ หรือแสดงผลงานร่วมกัน
- ใช้เป็นสถานีวิทยุออนไลน์ ให้บริการข่าว
ฟังเพลง 24 ชั่วโมง
- เจ้าของบล็อกมีอิสระในการเสนอสิ่งที่ตนเองชอบหรือสนใจ ไม่ล่วงผู้อื่น ไม่ผิดกฎหมาย ศีลธรรม และประเพณีที่ดีงาม
2.ข้อเสียในการใช้งาน Blog
- บล็อกเกอร์มีอิสระในการนำเสนอ
โดยไม่ต้องมีการตรวจสอบจากใครก่อน อาจโพสเรื่องที่ไม่เหมาะสม เรื่องที่หมิ่นเหม่
หรือ เข้าข่ายผิดกฎหมาย ผิดประเพณีและศีลธรรมอันดีได้ จึงต้องมีกติกาให้ตัวเอง
หรือใช้จริยธรรมของแต่บุคคล ความมีเหตุมีผล ความระมัดระวัง รอบคอบ
ของบล็อกเกอร์มากำกับไว้เอง
- ผู้ให้บริการบล็อก
ไม่สามารถกลั่นกรองเนื้อหาได้ 100%
เว้นแต่จะสร้างระบบกรองคำหยาบ คำต้องห้ามไว้เพื่อให้มีการตรวจทานก่อนเผยแพร่
อาจมีความเสี่ยงเป็นผู้กระทำผิดกฎหมายไปด้วยหากมีบล็อกเกอร์โพสข้อความ รูปภาพ
ไม่เหมาะสมแล้วมีการฟ้องร้องขึ้นมา
- ผู้ให้บริการบล็อก
ไม่สามารถบังคับหรือกำหนดแนวทางให้บล็อกเกอร์ได้ แม้จะโปรโมทให้ ok nation เป็นสังคมของ CJ Citizen Jouranalist แต่ก็เป็นที่ยอมรับกันว่า
จะไม่สามารถอยู่ได้หากไม่มีบล็อกเกอร์ที่ทำบล็อกในแนวอื่น
ซึ่งเปรียบเสมือนมีคอมลัมน์หลากหลายในหนังสือพิมพ์แต่ละฉบับ จึงน่าจะถือว่า
เป็นเรื่องของการสร้างชุมชนที่ดีร่วมกัน
- เนื้อหาที่อยู่ในบล็อก
หากไม่ใช่ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์
ที่ทำตามหลักวิชาการ หรือ ตัวบทกฎหมาย มีความน่าเชื่อถือน้อยถึงน้อยมาก
- ความน่าเชื่อถือของข้อมูลขึ้นกับของบล็อกเกอร์
มากกว่าตัวข้อมูลเอง หากเกิดความผิดพลาดใดๆ ผู้ที่นำข้อมูลไปใช้อ้างอิง
อาจประสบปัญหาได้
- เปิดโอกาสให้พวกป่วนเข้ามาเปิดบล็อก ก่อกวน
- เปิดโอกาสให้ผู้มีความคิดเห็นแตกต่างกัน
แสดงความขัดแย้งอย่างไม่มีเหตุผล สร้างความไม่สามัคคี ทะเลาะกันได้
- เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่
กระจายข่าวปั้นแต่ง ข่าวลือ ข่าวลวง ข่าวยั่วยุ
- การที่มีบล็อก
และเรื่องใหม่มากมายในแต่ละวัน การนำเสนอเรื่องเดิมซ้ำๆกันอาจเกิดขึ้นได้
เช่นการนำ ข้อความจากฟอร์เวิร์ดเมล์ มาโพส เป็นต้น
การสร้างบล็อกเกอร์
การใส่โค๊ดเมาส์ ลงในบล็อกเกอร์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น